๘.๓๐.๒๕๕๐

วังต้องห้ามงับ

















การสร้างพระราชวังหลวง

พระราชวังหลวงเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่และสง่างามที่จักรพรรดิสร้างขึ้นเพื่อเสริมสร้างการปกครองและความศักดิ์สิทธิ์ของต เป็นสถาปัตยกรรมอันรุ่งโรจน์และ สูงใหญ่
นับตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉินเป็นต้นมา พระราชวังหลวงก็เป็นที่ประทับของจักรพรรดิ และพระราชสำนัก ตำหนักก็เป็นที่ว่าการของจักรพรรดิ การสร้งพระราชวังหลวงมี ลักษณะพิเศษคือ มีหลังคาใหญ่มาก ทั้งคลุมด้วยกระเบื้องเคลือบสีเหลือง ประดับ ประดาด้วยภาพสีสวย เพดานลายแผนผังสี่เหลี่ยมสีสันงดงาม ฐานและราวหินอ่อน สีขาวตลอดจนอ

แผนผังของพระราชวังหลวงเป็นแบบที่มีเส้นกลางแบ่งเขตเป็นสองเขตที่มีสัดส่วนตรงกัน สิ่งก่อสร้างบนเส้นกลางนั้นทั้งสูงทั้งใหญและสง่างามมาก ส่วนสิ่งก่อสร้างทั้ง สองข้างนั้นจะต่ำกว่าและเล็กกว่า พระราชวังหลวงนั้นก็แบ่งเป็นสองส่วนเช่นกัน คือ ส่วนด้านหน้าและส่วนด้านหลัง ส่วนด้านหน้าเป็นที่ว่าการและสถานที่จัดพิธีสำคัญ ๆ ของจักรพรรดิ ส่วนด้านหลังเป็นที่ประทับของจักรพรรดิ พระราชินีและพระสนมต่
พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่่ง
ตัวแทนพระราชวังหลวงของจีนคือ พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่ง มีอีกชื่อหนึ่งคือ วังต้องห้าม เป็นพระราชวังหลวงสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง มีจักรพรรดิ 24 องค์เตยประทับอยู่ในวังนี้ตามลลำดับ วังนี้มีพื้นที่กว้าง 7 แสน 2 หมื่นตารางเมตร 9000 กว่าห้อง ล้อมรอบด้วยกำแพงเมืองสีแดงที่มีความสูงหลายเมตรทั้ง 4 ด้าน นอก กำแพงเมืองนั้นคือ คูเมือง
พระราชวังโบราณแบ่งเป็นสองเขต เขตด้านหน้าเป็นสถานที่ที่จักรพรรดิว่าการและ จัดพิธีสำคัญ ๆ ต่าง ๆ ที่สำคัญประกอบด้วยตำหนักไท่เหอ ตำหนักจงเหอและตำหนัก เป่าเหอ ซึ่งต่างก็สร้างขึ้นบนฐานหินอ่อนสีขาวสูง 8 เมตร สง่่างามมาก เขตด้านหลัง เป็๋นสถานที่ทำการและที่ประทับของจักรพรรดิและบรรด่สนม ที่สำคัญมีวังเฉียนชิง วัง คุนหนิงและพระราชอุทยาน ซึ่งต่างก็เป็นวังที่ประกอบด้วยสวนประดับ ห้องอ่านหนังสือ ศาลาและภูเขาหินจำลอง เป็นต้น วังแต่ละแห่งเป็นแบบลานบ้านจีนทั้งนั้น
ในภาพคือ พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่งเนื่องจากได้เปลี่ยนราชวงศ์เรื่อย ๆ ทั้งเกิดภัยสงครามด้วย พระราชวังหลวง ในสมัยโบราณจีนที่เหลือตกทอดมานั้นมีไม่มากนัก ที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน นอกจาก พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่ง ยังมีพระราชวังโบราณในเมืองเสิ่นหยางตลอดจนซาก พระราชวังหลวงในสมัยราชวงศ์ฮั่น
พระราชวังต้องห้ามแห่งนี ที่ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นดินแดนต้องห้าม ดินแดนลึกลับ และดินแดนที่เป็นศูนย์กลางของอาณาจักรที่เรืองอำนาจเหนือแผ่นดินทั้งปวง...ย้อนกลับไปไกลกว่าเมื่อ 600 ปีก่อน ทันทีที่เสียงย่ำกลองดังขึ้นเป็นจังหวะจากกู่โหลว (Drum Tower) ในยามรุ่งสาง ซึ่งเป็นชั่วยามที่ทหารยามจะต้องมาเปลี่ยนเวร ข้าราชสำนักแมนจูในเขตเมืองหลวงจะรีบตื่นลุกจากเตียงมาล้างหน้าแต่งตัว ขึ้นเกี้ยวไปเข้าเฝ้าจักรพรรดิที่ “กู้กง” หรือ “พระราชวังต้องห้าม” โดยมีขันทีเป็นผู้พาไปยืนประจำตำแหน่ง ขุนนางทุกคนจะน้อมรับฟังคำสั่งขององค์จักรพรรดิด้วยความสงบสำรวมหลังการก่อสร้างที่ยาวนานถึง 17 ปี พระราชวังแห่งนี้เป็นที่ประทับของจักรพรรดิในสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง (ราชวงศ์แมนจู) ที่ปกครองสืบต่อกันมารวมกันถึง 24 พระองค์ รวมระยะเวลาเกือบ 500 ปี ภายในพื้นที่ 170 เอเคอร์ ประกอบด้วยหมู่ห้องหับ 8,706 ห้อง มีคนพำนัก 8,000 ถึง 10,000 คน ขันที 3,000 คน ที่เหลือเป็นเหล่านางใน สนมกำนัลทั้งหลาย ชีวิตที่อยู่หลังกำแพงที่สูงกว่า 10 เมตร และคูน้ำที่กว้างกว่า 50 เมตรนี้ อยู่ภายใต้กรอบระเบียบ พิธีการ และกฎเกณฑ์ ในราชสำนักที่สามัญชนไม่อาจล่วงล้ำเข้ามาได้ ....จนเมื่อมีการสถานปนา “สาธารณรัฐจีน” ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1911 พระราชวังต้องห้ามแห่งนี้ก็ไม่ใช่ที่ประทับและศูนย์กลางของอาณาจักรจีนอีกต่อไปการเป็นจักรพรรดินั้นเหมือนถูกจองจำไม่มีผิด "จักรพรรดิเป็นชาวจีนเพียงคนเดียวที่ออกจากบ้านตัวเองไม่ได้" นี่คือคำกล่าวของ เรจินัลด์ จอห์นสตัน พระอาจารย์ชาวสก็อตแลนด์ ที่กล่าวไว้ มารดาของปูยีเป็นสัญลักษณ์ที่สื่อถึง คำกล่าวนี้ได้ดีที่สุด ปูยีน้อย ร้องหามารดาหลังจากเข้าวังต้องห้ามได้ไม่นานส่วนสำคัญคือ ปูยี รู้ข่าวว่ามารดาตนเสียชีวิต แต่ไม่สามารถออกจากวังไปเคารพศพได้และต้องนั่งว่าราชการ ตอนอายุ 3 ขวบอ้ายซินเจียหลอ ปูยี เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 1906 เป็นลูกขององค์ชายชุน ในปี 1908 ปูยี ถูกเรียกตัวเข้าวังต้องห้าม ซูสีไทเฮาตั้งให้เขาเป็นจักรพรรดิ และใช้ชื่อรัชสมัยว่า ซวนถง ในตอนนั้นปูยี มีอายุได้เพียง 2 ปีในปี 1912 การปฏิวัติซินไฮ่สำเร็จ ปูยี สละราชบังลังก์ แต่ยังอยู่ในวังต้องห้ามปูยีได้เริ่มเรียนภาษาอังกฤษกับ เรจินัลด์ จอห์นสตัน ในปี 1919 โดยเดิม จอห์นสตัน ไม่ได้เป็นครู แต่เป็นบุคคลที่ทางอังกฤษส่งมาเพื่อเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลอังกฤษกับปูยี จอห์นสตัน มีอิทธิพลต่อความคิดหลายๆ อย่างของปูยี นอกจากนั้นเขายังเป็นคนให้ชื่อภาษาอังกฤษ และยังเสนอว่า ปูยี จำเป็นต้องสวมแว่นในปี 1924 เฟิงยู่เสียง ขับราชสำนักแมนจูออกจากวังต้องห้าม ปูยีได้นั่งลีมูซีนไปที่บ้านองค์ชายชุน ผู้เป็นบิดา ในครั้งนั้นคนของ เฟิงยู่เสียน มาเชคแฮนด์กับปูยี และเรียกเขาว่า นายปูยี ซึ่งนั้นเป็นครั้งแรกที่มีคนเรียกเขาเช่นนี้ ปูยี ได้กล่าวถึงความรู้สึกในครั้งนั้นว่าช่วงที่เป็นจักรพรรดิเขาไม่มีอิสรภาพเลยแต่ตอนนี้เขาพบกับอิสรภาพของเขาแล้วชีวิตของปูยีเริ่มได้รับอิสรภาพ เมื่อออกมาจากวังต้องห้าม เขานั่งรถออกจากวังนั้นไม่ผิดกับนกที่ถูกปล่อยออกจากกรง เขาพาตัวเองและครอบครัวไปขอความช่วยเหลือจากสถานทูตญี่ปุ่นและย้ายไปที่ เทียนสิน ที่นั่นเขาได้เปลี่ยนชื่อตัวเองเป็น เฮนรี่ ปูยี ต่อมาปูยีได้ตอบรับคำเชิญจากญี่ปุ่นให้ไปเป็นจักรพรรดิที่แมนจูกัว ซึ่งเป็นจักรพรรดิภายใต้การควบคุมของรัฐบาลญี่ปุ่นและถูกรัสเซียจับกุมในเวลาต่อมาด้านชีวิตสมรสของปูยีนั้นไม่ประสบความสำเร็จอย่างชัดเจน เมื่อภรรยาคนที่สอง จากไปเมื่อครั้งเขาย้ายไปอยู่เทียนสินภรรยาคนแรกก็มีความขัดแย้งกัน และเธอตั้งครรภ์กับคนอื่นเมื่อตอนที่เขาดำรงตำแหน่งจักรพรรดิหุ่นเชิดของแมนจูกัวปี 1950 ปูยี ถูกส่งตัวกลับมาที่จีน ถูกสอบสวนและจำคุกถึง 9 ปีเขาได้รับการปล่อยตัว ในเดือน ธันวาคม ปี1959 และอาศัยอยู่กับครอบครัวของเขาที่บ้านของบิดาในกรุงปักกิ่ง ดูเหมือนว่าเขาจะได้รับอิสระแต่แท้ที่จริงแล้วเขายังมีสภาพเป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลจีน เขาถูกจัดหน้าที่ให้เป็นคนทำสวนของสถาบันพฤกษศาสตร์ เพื่อสร้างภาพให้กับคอมมิวนิสต์ ต่อมาในปี 1962 เขาแต่งงานใหม่กับ หลี่ซู่เสียน นางพยาบาลและสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์วัย 37 ปีในปี 1967 ปูยี เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งที่ไต นั่นอาจจะเป็นการได้รับอิสระอย่างแท้จริงที่เขาต้องการ






























































๘.๑๖.๒๕๕๐

10. เคล็ดลับเรียนภาษาต่างประเทศให้ได้

1. ยอมรับความเป็นจริง ไม่มีใครพูดภาษาที่สองได้แต่เกิดทุกคน แต่ต้องใช้เวลาในการเรียนรู้กันทั้งนั้น ฉนั้นอย่าคาดหวังว่าจะต้องเข้าใจทุกสิ่งทุกอย่างตั้งแต่เริ่มต้น
2. เรียนรู้ทีละนิด จากการศึกษาพบว่าการทบทวนเป็นระยะเวลาสั้นๆอย่างเช่น ในระหว่างทานอาหารเช้า ในขณะอาบน้ำ หรือในขณะเดินทาง จะส่งผลให้คุณจดจำได้ดีกว่า
3. ท่องศัพท์ ยิ่งคุณรู้ศัพท์มากเท่าไหร่ คุณก็สามารถพูดและเข้าใจได้มากขึ้นเท่านั้น เทคนิคในการจดจำศัพท์คือ พกการ์ดใบเล็กๆที่เขียนคำศัพท์ที่มีคำแปลอยู่ด้านหลังไปกับคุณทุกที
4. ฝึกหัดอย่างจริงจัง อย่าแค่ทำปากขมุบขมิบหรือท่องเอาไว้ใส่ใจ พูดหรืออ่านออกมาดังๆในทุกครั้งทีมีโอกาส เพื่อจะได้ฝึกปากของคุณให้เคนชินกับการออกเสียง
5. ทำการบ้าน การทำการบ้านคือการฝึกฝนทักษะ การใช้ภาษาให้เป็นไปอย่างแม่นยำจนกลายเป็นความชำนาญ และสามารถทำออกมาได้อย่างอัตโนมัติในที่สุด
6. จับกลุ่มเรียน หาเวลาทบทวนทำการบ้าน หรือแค่ฝึกพูดภาษาสั้นๆกับเพื่อนเป็นประจำ ซึ่งจะช่วยแก้ขข้อบกพร่องให้กันและกันได้ แถมยังทำคุณจดจำได้แม่นยำยิ่งขึ้นด้วย
7. หาจุดอ่อน คุณควรหาจุดอ่อนในการเรียนของตัวเองเจอ เพื่อจะได้เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้อย่างเช่น ถ้าคุณเป็นคนเงียบๆ และไม่ค่อยมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ก็บังคับตัวเองให้เลือกที่นั่งแถวหน้านในห้องเรียนซะ
8. หาโอกาสในการใช้ภาษา เพื่อสร้างความคุ้นเคยในภาษานั้นๆใหได้มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการพูดคุยกับเจ้าของภาษา เช่าหนังที่พูดภาษานั้นมาดู กระทั่งหาแฟนที่เป็นเจ้าของภาษานั้นซะเลย
9. ทุ่มความสนใจ พูดง่ายๆก็คือ หายใจเข้าออกก็เป็นภาษานั้น เรียนรู้ภาษานั้นทั้งในและนอกห้องเรียนอย่างจริงจัง และเต็มที่ถึงขนาดถ้าฝันได้ก็อาจฝันเป็นภาษานั้นด้วย
10. ปรึกษาผู้รู้ ถ้ามีปัญหาหรือติดขัดอะไรก็ต้องสอบถามครูผู้สอนภาษานั้นทันที เพื่อทำลายกำแพงที่เป็นอุปสรรคในการเรียนออกไปให้เร็วที่สุด คุณจะได้ไม่ต้องสดุดอยู่นานเกินไป ซึ่งนั้นอาจจะทำใหคุณเกิดเบื่อหน่ายได้

๘.๑๐.๒๕๕๐

วันแม่นานาชาติง้าบบบ

วันแม่ในประเทศต่าง ๆ

อาทิตย์ที่สองของเดือนกุมภาพันธ์ = นอร์เวย์

• 8 มีนาคม = บัลแกเรีย, แอลเบเนีย

• อาทิตย์ที่สี่ในฤดูถือบวชเล็นท์ = สหราชอาณาจักร, ไอร์แลนด์
(มาเทอริง ซันเดย์)

• 21 มีนาคม = จอร์แดน, ซีเรีย, เลบานอน, อียิปต์
(วันแรกของฤดูใบไม้ผลิ)

• อาทิตย์แรกของเดือนพฤษภาคม = โปรตุเกส, ลิทัวเนีย, สเปน, แอฟริกาใต้, ฮังการี

• 8 พฤษภาคม = เกาหลีใต้ (วันผู้ปกครอง)

• 10 พฤษภาคม = กาตาร์, ซาอุดีอาระเบีย, ประเทศส่วนใหญ่ใน
ทวีปอเมริกาใต้, บาห์เรน, ปากีสถาน, มาเลเซีย,
เม็กซิโก, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, อินเดีย, โอมาน

• อาทิตย์ที่สองของเดือนพฤษภาคม = แคนาดา, สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน),
สาธารณรัฐประชาชนจีน, ญี่ปุ่น, เดนมาร์ก, ตุรกี,
นิวซีแลนด์, เนเธอร์แลนด์, บราซิล, เบลเยียม, เปรู
ฟินแลนด์, มอลตา, เยอรมนี, ลัตเวีย, สโลวาเกีย ,
สิงคโปร์, สหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย, ออสเตรีย,
อิตาลี, เอสโตเนีย, ฮ่องกง

• 26 พฤษภาคม = โปแลนด์

• 27 พฤษภาคม = โบลิเวีย

• อาทิตย์ที่สุดท้ายของ = สาธารณรัฐโดมินิกัน, สวีเดน
เดือนพฤษภาคม

• อาทิตย์แรกของเดือนมิถุนายน = ฝรั่งเศส
หรือ อาทิตย์ที่สุดท้ายของ
เดือนพฤษภาคม

• 12 สิงหาคม = ไทย
(วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ)

• 15 สิงหาคม (วันอัสสัมชัญ) = คอสตาริกา, แอนท์เวิร์ป (เบลเยียม)

• อาทิตย์ที่สองหรือสามของ = อาร์เจนตินา (Día de la Madre)
เดือนตุลาคม

• 28 พฤศจิกายน = รัสเซีย

• 8 ธันวาคม = ปานามา

• 22 ธันวาคม = อินโดนีเซีย



จาก วิกิพีเดียค่ะ

ภาษาเกาหลีที่เค้าชอบง่า

ภาษาเกาหลี

ภาษาเกาหลีเบื้องต้นที่อาจมีประโยชน์ต่อท่าน

การทักทาย และถ้อยคำสุภาพทั่วไป สวัสดีตอนเช้า
สวัสดีตอนบ่าย
สวัสดีตอนเย็น -อันย้ง ฮาเซโย
คุณสบายดี หรือเปล่า- ชออึม เป็บ เกสซอโย
ยินดีที่ได้รู้จัก- มันนาซอ พัน กาวอโย
กรุณาช่วย ดิฉัน/ผม -โทวาจูเซโย
ขอบคุณ คัมซา ฮัมนีดา
ยินดีต้อนรับ -ชนมาเนโย
ผม/ดิฉัน เสียใจ -มีอัน ฮัมนีดา
ขอโทษ -ชิลเล ฮัมนีดา
ใช่มี- เย อิสซอโย
ไม่มี -อานโย อ๊อบซอโย
ลาก่อน- อันย้งฮี กาเซโย


การคมนาคมขนส่ง ช่วยกรุณาบอกทางไป (พระราชวังถ๊อกซูกุง) (ถ๊อกซูกุง) คานึน คีรึล คารึชอ จูเซโย
...............อยู่ที่ไหน ? .............. อีออดิ อิสซึมนีก้ะ ?
ช่วยพาไปที่...................... ............อือ โร คา จูเซโย
กรุณาจอดตรงนี้ ยอกีซอ เซวอ จูเซโย
...............อยู่ไกลแค่ไหน ..............ก้าจิ ออลมสนา มอมนิก้า
จะเรียกแท็กซี่ได้ที่ไหน ? ออดิซอ แท็กชีรึล ทัลซู อิสซึลกาโยะ?
ใช้เวลานานเท่าใดที่จะไป................. ? .........คาจิ ชีกานี ออลนามา คอลลิมนีก้า?
รถโดยสารคันนี้ไป ............หรือไม่ ? อี บอซึ...........คัมนีก้า?

ช้อปปิ้ง ขอดูอันนี้หน่อย ค่ะ/ครับ- อีกอซึล โพยอจูเซโย
ราคาเท่าไหร่- คีอกอซึน ออลมาอิมนีก้า
ซื้ออันนี้ค่ะ/ครับ- อีกอซึล จูชิบชีโย
คุณรับบัตรเครดิตหรือเปล่าคะ -ซินยงกาดิ พัทซึมนิก้า

รับประทานอาหารนอกบ้าน ขอดูเมนูด้วยค่ะ/ครับ- เมนู ชม โพยอ จูเซโย
ที่นี่มีอะไรเป็นอาหารจานเด็ด- อีชิบ เอซอ ชาลฮานึน อึมชีกี มออช ชีโจ้ะ
ผม/ดิฉันเอาบูโกกิค่ะ/ครับ -บูลโกกิ จูเซโย
คุณช่วยเอาอันนี้มาให้หน่อยค่ะ/ครับ- อีกอส โชกิม ทอ จูเซโย

ที่พัก มีห้องว่างหรือไม่ -บินบัง อิสซึมนีกา
คุณช่วยทำความสะอาดห้องให้หน่อยได้ไหมค่ะ -บัง ชองโซ ชม แฮจูเซโย
ผม/ดิฉันอยากพักอีก 1 คืน -ฮารู ทอ มุกโค ชิบซึมนิดะ
คุณช่วยปลุกผม/ดิฉันตอน 6 โมงเช้าได้ไหมคะ -อาชิม ยอซอสชีเอ เก้วอจูเซโย

เบ็ดเตล็ด
ศูนย์รับแจ้งของหาย- พุนชิลมุลโพกวันโซ
สถานนีตำรวจ -เคียงชัลซอ
โรงพยาบาล -เพียงวอน
สุขา -ฮวาจังชิล
ร้านค้าขายยา- ยักกุก
โรงแรม -ยอกวัน
ตลาด -ซิจัง
ร้านอาหาร -ซิกดัง
สนามบิน -คงฮัง
รถไฟฟ้าใต้ดิน -ชีฮาชอล
สถานีรถไฟ -กิชายก

หมายเลข 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ยอง อิล/ฮานา อี/ทูล ซัม/เซ็ท ซา/เน็ท โอ/ทาซอท ยุก/ยอซอท ชิล/อิลกอป พัล/ยอตอล คู/อาฮอป ซิป/ยอล

20 100 1,000 10,000 100,000 1,000,000
อิชิป แพ็ก ชอน มาน ชิมมัน แพ็กมาน

안녕히 주무세요 (อัน-นยอง-ฮิ จุ-มุ-เซ-โย) ราตรีสวัสดิ์
잘 자요 (จัล จา-โย) ฝันดี
잘 자 내꿈꿔 (จัล จา เน-กุม-กอ) ฝันถึงฉันนะ
잘 지 내 요? ชัล จี เน โย๊? สบายดีมั๊ยคะ
아침 식사 하셨어요? (อา-ชิม ชิก-ซา ฮา-ชอส-ซอ-โย) ทานเข้าช้าวแล้วหรือยัง
점심 식사 하셨어요? (จอม-ชิม ชิก-ซา ฮา-ชอส-ซอ-โย) ทานข้าวกลางวันแล้วหรือยัง
저녁 식사 하셨어요? (จอ-นยอก ชิก-ซา ฮา-ชอส-ซอ-โย) ทานข้าวเย็นแล้วหรือยัง

네, 하셨어요. / 네 먹었어요. (เน ฮา-ชอส-ซอ-โย / เน มอ-กอส-ซอ-โย) ค่ะ/ครับ ทานแล้ว

그래요? 뭇을 먹었어요? (คือ-เร-โย, มู-ซึล มอ-กอส-ซอ-โย) งั้นหรือ ทานอะไรมาล่ะ

배 불러요. (เพ บุล-ลอ-โย) อิ่มแล้วค่ะ
배 고파요. (เพ โก-พา-โย) หิวแล้วค่ะ
คำว่า "ที่รัก" เหรอ อืม...ที่รู้มาก็มีหลายอย่างเหมือนกันนะ
여보 (ยอ-โพ) สำหรับคนมีอายุ
달링 Darling
하니 Honey
자기 (จา-กิ) สำหรับคู่แต่งงานใหม่
เดินๆ อยู่ เหมือนเห็นคนรู้จัก แต่ไม่แน่ใจ ก็เลยทักขึ้น 저기요! (คุณคะ..คุณ)

๘.๐๔.๒๕๕๐

Machu Picchu

















































Machu Picchu

Le Machu Picchu (du quechua « vieille montagne », et surnommée parfois « la cité perdue des Incas ») est une ancienne cité inca, perchée sur les hauteurs de la cordillère des Andes. Aujourd'hui en ruine, elle se situe à une altitude de 2350 mètres, dans la vallée de l'Urubamba, au Pérou. La ville sacrée Machu Picchu, oubliée pendant des siècles, fut dévoilée au monde par l'archéologue Hiram Bingham de l'Université de Yale, qui écrivit un best-seller à ce sujet[1]. Ce site archéologique précolombien, situé à 130km au nord-ouest de Cuzco au Pérou, est considéré comme le site archéologique inca le plus important du Pérou. Le 7 juillet 2007, l'endroit a été désigné comme l'une des sept nouvelles merveilles du monde par un organisme non officiel et à caractère commercial (NewOpenWorld Founda
Localisation géographique
Le site se trouve à l'est de la Cordillère des Andes, aux débuts de la forêt amazonienne. Les ruines sont à cheval entre deux élévations de terrain. L'une est le Huayna Picchu, signifiant jeune montagne. C'est cette montagne qui surplombe le site sur la plupart des images de la cité. Selon certains angles de vue, il est possible d'y décerner la forme d'un visage humain regardant vers le ciel, le sommet du Huayna Picchu étant le nez. L'autre montagne est le Machu Picchu, signifiant vieille montagne. C'est cette montagne, à l'opposée du Huayna Picchu, qui a donnée le nom au site archéologique. Autour du Huayna Picchu et sur les deux côtés de la cité coule la rivière Urubamba qui décrit un grand arc en contrebas d'une falaise de 600 mètres.

Histoire

On pense aujourd'hui que la ville a été construite sous le règne de l’empereur Pachacutec qui débuta en 1440. La ville a été abandonnée, vraisemblablement avant l'invasion espagnole de 1532. D’après les recherches archéologiques effectuées sur le site, le Machu Picchu n’était pas une ville traditionnelle, mais plutôt un lieu spirituel. Le site comporte des ruines de temples dans l'enceinte protégée de la cité. Il est estimé que le lieu n'hébergeait probablement pas plus de 750 personnes.

La redécouverte

La ville abandonnée ne fut mise à jour par les occidentaux qu'au XXe siècle. Le 24 juillet 1911 par Hiram Bingham, un historien de Yale qui effectuait des recherches sur la ville perdue de Vilcabamba, le dernier refuge de l'Inca. Il était accompagné par ses guides, le sergent Carrasco et le paysan Melchor Arteaga. Hiram Bingham participa aux premières fouilles sur le site, et grâce à son livre Lost City of the Incas (La Cité perdue des Incas), rendit ce lieu célèbre dans le monde. En 1913, la National Geographic Society consacra entièrement le numéro d'avril de son magazine au Machu Picchu. Le Pérou tente aujourd'hui de récupérer, auprès de différents musées et collectionneurs, les centaines d'objets que Bingham retira du site.
Situation actuelle

Depuis 1981, le Machu Picchu fait partie d’une réserve naturelle de 325,92 km², dont le but est de protéger non seulement le site archéologique, mais aussi la faune et la flore locales. On y remarque notamment une abondante présence d’orchidées sauvages.En 1983 l’UNESCO inscrivit le site sur la liste du patrimoine mondial.
En
2004, quelques 400 000 touristes visitèrent le Machu Picchu, et l'UNESCO a depuis exprimé ses craintes que le nombre trop important de touristes ne dégrade le site. Selon les autorités péruviennes, l'éloignement et la difficulté d'accès au site imposent d'eux-mêmes des limites naturelles à l'expansion du tourisme. Régulièrement, des propositions sont faites pour installer un téléphérique pour rejoindre le site, mais elles ont toutes été rejetées jusqu'à présent.
Le 7 juillet 2007, le site du Machu Picchu était désigné comme étant l'une des sept "nouvelles" merveilles du monde, d'après un concours controversé ayant mobilisé 100 millions de personnes sur Intern
Centre archéologique
De par sa richesse architecturale, le Machu Picchu est l'un des sites archéologiques les plus importants de l'Amérique latine.
D’après les archéologues, le Machu Picchu est divisé en trois grands secteurs : le quartier sacré, le quartier populaire et le quartier des nobles et des ecclésiastiques. La zone sacrée est dédiée à
Inti, le dieu soleil, divinité principale du panthéon Inca. C’est ici que se trouvent les trésors archéologiques les plus importants : l’horloge solaire (Intihuatana) et le temple du soleil.

Intérieur de la cité
Toutes les constructions du Machu Picchu sont de style classique inca ; quelques rares murs sur le site sont composés de pierres parfaitement ajustées, l'ensemble des constructions étant, au contraire des autres sites de la région, constitué de pierres étonnamment non ajustées. Les Incas ne faisaient pas usage de ciment sur leurs sites mais sur celui du Machu Picchu, la majorité des murs et des édifices sont constitués de pierres très irrégulières, disjointes et remplies de terre entre elles. Le granit des pierres utilisées pour la construction du site provenait de carrières éloignées, ce qui demandait une ingénierie très évoluée pour faire monter des blocs de pierre pouvant peser plusieurs tonnes jusqu'au sommet de la montagne.


















































๘.๐๑.๒๕๕๐

Himalaya


L'Himalaya, en sanskrit « demeure des neiges », (him « neige » et alaya « maison, demeure »), ou chaîne de l'Himalaya, est un ensemble de chaînes de montagnes s'étirant sur plus de 2 400 km de long et large de 250 à 400 km, qui sépare le sous-continent indien du plateau tibétain dans le sud de l'Asie. Cet ensemble montagneux, délimité à l'ouest par la vallée du fleuve Indus et à l'est par la vallée du fleuve Brahmapoutre, couvre une aire d'environ 600 000 km².

L'Himalaya abrite les plus hautes montagnes du monde, soit les 14 sommets qui culminent à plus de 8 000 mètres d'altitude, dont le mont Everest, le plus haut de tous. Ces hauts sommets ont donné lieu à de nombreuses expéditions d'alpinistes renommés et ont tous été conquis.

L'Himalaya fait partie d'un ensemble montagneux plus vaste encore que l'on désigne par Aire Hindu Kush-Himalaya (HKH), laquelle comprend outre les chaînes de l'Hindu-Kush et du Pamir, celles du Karakoram qui prolonge la chaîne himalayenne à l'ouest. Ce vaste ensemble chevauche huit pays et abrite plus de 140 millions de personnes.


Formation géologique
D'après la théorie de la tectonique des plaques, l'Himalaya est le résultat de la collision des plaques indo-australienne et eurasienne. Cette collision a commencé au crétacé supérieur (il y a environ 70 millions d'années), la plaque indo-australienne, qui se dirigeait vers le nord à la vitesse de 15 centimètres par année, ayant heurté la plaque eurasienne. L'océan Téthys, qui les séparait, a totalement disparu il y a environ 50 millions d'années. La plaque indo-australienne continue à se déplacer à la vitesse constante d'environ 5 centimètres par année, s'enfonçant sous la plaque eurasienne et provoquant ainsi l'élévation de l'Himalaya et du plateau tibétain.

L'Inde se comporte comme un poinçon qui emboutit et qui déforme la lithosphère asiatique sur plus de 3 000 kilomètres au nord de l'Himalaya. Le Tibet est coupé par de grandes failles qui absorbent cette déformation. Sur le côté est du poinçon indien, les chaînes birmanes et les îles Andaman et Nicobar dans l'océan Indien ont aussi été créées par le mouvement entre l'Inde et l'Eurasie.

Cette intense activité tectonique rend la région très active du point de vue sismique. D'ailleurs, des séismes historiques de magnitude 8 et plus sont documentés sur le front sud de l'Himalaya.


Géographie
L'Himalaya s'étend sur plus de 2 400 km, depuis le Nanga Parbat, au Pakistan, à l'ouest jusqu'au Namche Barwa à l'est. Il comporte trois chaînes parallèles disposées en ordre d'altitude et d'ère géologique.


La plus jeune des trois chaînes est dite « sub-himalayenne » (collines de Shivalik) et s'élève à environ 1 200 mètres d'altitude. Elle s'est formée par l'érosion depuis la formation de l'Himalaya. Parallèle à cette chaîne se trouve celle du « Bas Himalaya » dont l'altitude varie de 2 000 à 5 000 mètres. Enfin, la chaîne la plus au nord, le « Grand Himalaya », est la plus ancienne des trois. Elle s'élève à plus de 6 000 mètres d'altitude et comporte un grand nombre des plus hauts sommets du monde, dont les trois premiers sont l'Everest, le K2, et le Kangchenjunga. L'Himalaya couvre la majeure partie du Népal et du Bouthan et occupe presque entièrement l'État pakistanais du Balistan et les États indiens suivants : Jammu, Kashmir, Himachal Pradesh, Uttaranchal, Sikkim et Arunachal Pradesh. A la frontière du Sikkim et de l'Ouest Bengale s'étend l'Arête de Singalila, dont les plus hauts sommets sont le mont Sandakfu, plus haut point de l'état du Bengale-Occidental à 3 636 mètres, suivi du Pic Falut, qui culmine à 3 595 mètres. Enfin, l'Himalaya chevauche une très petite partie du sud-est du Tibet (cependant, le plateau tibétain ne fait pas partie de l'Himalaya).


Glaciers et rivières
La chaîne de l'Himalaya possède un très grand nombre de glaciers dont le Siachen, le plus connu et le plus grand glacier du monde en dehors des régions polaires. D'autres glaciers sont aussi très célèbres : le Gangotri et le Yamunotri (Uttaranchal), le Nubra, le Biafo et le Baltoro (région de Karakoram), le Zemu (Sikkim) et les glaciers de Khumbu (région du mont Everest).

Les plus hautes régions de l'Himalaya sont recouvertes de neige toute l'année malgré leur proximité avec les tropiques, et les glaciers alimentent de nombreuses rivières qui se divisent en deux grands systèmes :


Cette image montre la limite des glaciers dans le Bhoutan-Himalaya.Les rivières, à l'ouest, regroupent la vallée de l'Indus dont la rivière du même nom est la plus longue. L'Indus commence au Tibet, au confluent du Sengge et du Gar, et coule vers le sud-ouest en direction du Pakistan jusqu'à la mer d'Arabie (ou mer d'Oman). L'Indus est aussi alimenté par le Jhelum, le Chenab, le Ravi, le Beas, et le Sutlej (parmi les principaux).
La plupart des autres rivières de l'Himalaya drainent la vallée du Gange et du Brahmapoutre. Le Gange prend naissance dans le glacier du Gangotri, où il porte le nom Bhagirathi, puis coule vers le sud-est à travers les plaines du nord de l'Inde. Ses principaux affluents sont l'Alaknanda et le Yamuna. Le Brahmapoutre commence dans l'ouest du Tibet sous le nom de Tsangpo et se sépare en deux branches : l'une, vers l'est, traverse le Tibet ; l'autre, vers l'ouest, traverse les plaines d'Assam. Le Gange et le Bramhapoutre se rejoignent au Bengladesh et se jettent dans la baie du Bengale par le plus grand delta du monde.
Les rivières les plus à l'est alimentent la rivière Ayeyarwady qui prend sa source dans l'est du Tibet et qui traverse le sud en passant par Myanmar jusqu'à la mer d'Andaman.

Le Salween, le Mekong, le Yangtze et le Huang He (Fleuve jaune) sont tous originaires du plateau tibétain, mais ils ne sont pas considérés comme de vrais fleuves de l'Himalaya. Pour désigner cet ensemble de fleuves, certains géographes parlent de fleuves péri-himalayens[1].

Récemment, des scientifiques ont constaté une accélération notable du retrait des glaciers de la région à cause du réchauffement climatique. Or ce sont les glaciers qui alimentent les fleuves, et leur diminution entraîne des périodes de sécheresses de plus en plus longues. Cependant, les effets ne se feront sentir que dans quelques années et pourraient se traduire par de nombreuses catastrophes naturelles causant des milliers de morts.