การสร้างพระราชวังหลวง
พระราชวังหลวงเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่และสง่างามที่จักรพรรดิสร้างขึ้นเพื่อเสริมสร้างการปกครองและความศักดิ์สิทธิ์ของต เป็นสถาปัตยกรรมอันรุ่งโรจน์และ สูงใหญ่
นับตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉินเป็นต้นมา พระราชวังหลวงก็เป็นที่ประทับของจักรพรรดิ และพระราชสำนัก ตำหนักก็เป็นที่ว่าการของจักรพรรดิ การสร้งพระราชวังหลวงมี ลักษณะพิเศษคือ มีหลังคาใหญ่มาก ทั้งคลุมด้วยกระเบื้องเคลือบสีเหลือง ประดับ ประดาด้วยภาพสีสวย เพดานลายแผนผังสี่เหลี่ยมสีสันงดงาม ฐานและราวหินอ่อน สีขาวตลอดจนอ
นับตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉินเป็นต้นมา พระราชวังหลวงก็เป็นที่ประทับของจักรพรรดิ และพระราชสำนัก ตำหนักก็เป็นที่ว่าการของจักรพรรดิ การสร้งพระราชวังหลวงมี ลักษณะพิเศษคือ มีหลังคาใหญ่มาก ทั้งคลุมด้วยกระเบื้องเคลือบสีเหลือง ประดับ ประดาด้วยภาพสีสวย เพดานลายแผนผังสี่เหลี่ยมสีสันงดงาม ฐานและราวหินอ่อน สีขาวตลอดจนอ
แผนผังของพระราชวังหลวงเป็นแบบที่มีเส้นกลางแบ่งเขตเป็นสองเขตที่มีสัดส่วนตรงกัน สิ่งก่อสร้างบนเส้นกลางนั้นทั้งสูงทั้งใหญและสง่างามมาก ส่วนสิ่งก่อสร้างทั้ง สองข้างนั้นจะต่ำกว่าและเล็กกว่า พระราชวังหลวงนั้นก็แบ่งเป็นสองส่วนเช่นกัน คือ ส่วนด้านหน้าและส่วนด้านหลัง ส่วนด้านหน้าเป็นที่ว่าการและสถานที่จัดพิธีสำคัญ ๆ ของจักรพรรดิ ส่วนด้านหลังเป็นที่ประทับของจักรพรรดิ พระราชินีและพระสนมต่
พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่่ง
ตัวแทนพระราชวังหลวงของจีนคือ พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่ง มีอีกชื่อหนึ่งคือ วังต้องห้าม เป็นพระราชวังหลวงสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง มีจักรพรรดิ 24 องค์เตยประทับอยู่ในวังนี้ตามลลำดับ วังนี้มีพื้นที่กว้าง 7 แสน 2 หมื่นตารางเมตร 9000 กว่าห้อง ล้อมรอบด้วยกำแพงเมืองสีแดงที่มีความสูงหลายเมตรทั้ง 4 ด้าน นอก กำแพงเมืองนั้นคือ คูเมือง
พระราชวังโบราณแบ่งเป็นสองเขต เขตด้านหน้าเป็นสถานที่ที่จักรพรรดิว่าการและ จัดพิธีสำคัญ ๆ ต่าง ๆ ที่สำคัญประกอบด้วยตำหนักไท่เหอ ตำหนักจงเหอและตำหนัก เป่าเหอ ซึ่งต่างก็สร้างขึ้นบนฐานหินอ่อนสีขาวสูง 8 เมตร สง่่างามมาก เขตด้านหลัง เป็๋นสถานที่ทำการและที่ประทับของจักรพรรดิและบรรด่สนม ที่สำคัญมีวังเฉียนชิง วัง คุนหนิงและพระราชอุทยาน ซึ่งต่างก็เป็นวังที่ประกอบด้วยสวนประดับ ห้องอ่านหนังสือ ศาลาและภูเขาหินจำลอง เป็นต้น วังแต่ละแห่งเป็นแบบลานบ้านจีนทั้งนั้น
ในภาพคือ พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่งเนื่องจากได้เปลี่ยนราชวงศ์เรื่อย ๆ ทั้งเกิดภัยสงครามด้วย พระราชวังหลวง ในสมัยโบราณจีนที่เหลือตกทอดมานั้นมีไม่มากนัก ที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน นอกจาก พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่ง ยังมีพระราชวังโบราณในเมืองเสิ่นหยางตลอดจนซาก พระราชวังหลวงในสมัยราชวงศ์ฮั่น
ตัวแทนพระราชวังหลวงของจีนคือ พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่ง มีอีกชื่อหนึ่งคือ วังต้องห้าม เป็นพระราชวังหลวงสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง มีจักรพรรดิ 24 องค์เตยประทับอยู่ในวังนี้ตามลลำดับ วังนี้มีพื้นที่กว้าง 7 แสน 2 หมื่นตารางเมตร 9000 กว่าห้อง ล้อมรอบด้วยกำแพงเมืองสีแดงที่มีความสูงหลายเมตรทั้ง 4 ด้าน นอก กำแพงเมืองนั้นคือ คูเมือง
พระราชวังโบราณแบ่งเป็นสองเขต เขตด้านหน้าเป็นสถานที่ที่จักรพรรดิว่าการและ จัดพิธีสำคัญ ๆ ต่าง ๆ ที่สำคัญประกอบด้วยตำหนักไท่เหอ ตำหนักจงเหอและตำหนัก เป่าเหอ ซึ่งต่างก็สร้างขึ้นบนฐานหินอ่อนสีขาวสูง 8 เมตร สง่่างามมาก เขตด้านหลัง เป็๋นสถานที่ทำการและที่ประทับของจักรพรรดิและบรรด่สนม ที่สำคัญมีวังเฉียนชิง วัง คุนหนิงและพระราชอุทยาน ซึ่งต่างก็เป็นวังที่ประกอบด้วยสวนประดับ ห้องอ่านหนังสือ ศาลาและภูเขาหินจำลอง เป็นต้น วังแต่ละแห่งเป็นแบบลานบ้านจีนทั้งนั้น
ในภาพคือ พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่งเนื่องจากได้เปลี่ยนราชวงศ์เรื่อย ๆ ทั้งเกิดภัยสงครามด้วย พระราชวังหลวง ในสมัยโบราณจีนที่เหลือตกทอดมานั้นมีไม่มากนัก ที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน นอกจาก พระราชวังโบราณในกรุงปักกิ่ง ยังมีพระราชวังโบราณในเมืองเสิ่นหยางตลอดจนซาก พระราชวังหลวงในสมัยราชวงศ์ฮั่น
พระราชวังต้องห้ามแห่งนี ที่ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นดินแดนต้องห้าม ดินแดนลึกลับ และดินแดนที่เป็นศูนย์กลางของอาณาจักรที่เรืองอำนาจเหนือแผ่นดินทั้งปวง...ย้อนกลับไปไกลกว่าเมื่อ 600 ปีก่อน ทันทีที่เสียงย่ำกลองดังขึ้นเป็นจังหวะจากกู่โหลว (Drum Tower) ในยามรุ่งสาง ซึ่งเป็นชั่วยามที่ทหารยามจะต้องมาเปลี่ยนเวร ข้าราชสำนักแมนจูในเขตเมืองหลวงจะรีบตื่นลุกจากเตียงมาล้างหน้าแต่งตัว ขึ้นเกี้ยวไปเข้าเฝ้าจักรพรรดิที่ “กู้กง” หรือ “พระราชวังต้องห้าม” โดยมีขันทีเป็นผู้พาไปยืนประจำตำแหน่ง ขุนนางทุกคนจะน้อมรับฟังคำสั่งขององค์จักรพรรดิด้วยความสงบสำรวมหลังการก่อสร้างที่ยาวนานถึง 17 ปี พระราชวังแห่งนี้เป็นที่ประทับของจักรพรรดิในสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง (ราชวงศ์แมนจู) ที่ปกครองสืบต่อกันมารวมกันถึง 24 พระองค์ รวมระยะเวลาเกือบ 500 ปี ภายในพื้นที่ 170 เอเคอร์ ประกอบด้วยหมู่ห้องหับ 8,706 ห้อง มีคนพำนัก 8,000 ถึง 10,000 คน ขันที 3,000 คน ที่เหลือเป็นเหล่านางใน สนมกำนัลทั้งหลาย ชีวิตที่อยู่หลังกำแพงที่สูงกว่า 10 เมตร และคูน้ำที่กว้างกว่า 50 เมตรนี้ อยู่ภายใต้กรอบระเบียบ พิธีการ และกฎเกณฑ์ ในราชสำนักที่สามัญชนไม่อาจล่วงล้ำเข้ามาได้ ....จนเมื่อมีการสถานปนา “สาธารณรัฐจีน” ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1911 พระราชวังต้องห้ามแห่งนี้ก็ไม่ใช่ที่ประทับและศูนย์กลางของอาณาจักรจีนอีกต่อไปการเป็นจักรพรรดินั้นเหมือนถูกจองจำไม่มีผิด "จักรพรรดิเป็นชาวจีนเพียงคนเดียวที่ออกจากบ้านตัวเองไม่ได้" นี่คือคำกล่าวของ เรจินัลด์ จอห์นสตัน พระอาจารย์ชาวสก็อตแลนด์ ที่กล่าวไว้ มารดาของปูยีเป็นสัญลักษณ์ที่สื่อถึง คำกล่าวนี้ได้ดีที่สุด ปูยีน้อย ร้องหามารดาหลังจากเข้าวังต้องห้ามได้ไม่นานส่วนสำคัญคือ ปูยี รู้ข่าวว่ามารดาตนเสียชีวิต แต่ไม่สามารถออกจากวังไปเคารพศพได้และต้องนั่งว่าราชการ ตอนอายุ 3 ขวบอ้ายซินเจียหลอ ปูยี เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 1906 เป็นลูกขององค์ชายชุน ในปี 1908 ปูยี ถูกเรียกตัวเข้าวังต้องห้าม ซูสีไทเฮาตั้งให้เขาเป็นจักรพรรดิ และใช้ชื่อรัชสมัยว่า ซวนถง ในตอนนั้นปูยี มีอายุได้เพียง 2 ปีในปี 1912 การปฏิวัติซินไฮ่สำเร็จ ปูยี สละราชบังลังก์ แต่ยังอยู่ในวังต้องห้ามปูยีได้เริ่มเรียนภาษาอังกฤษกับ เรจินัลด์ จอห์นสตัน ในปี 1919 โดยเดิม จอห์นสตัน ไม่ได้เป็นครู แต่เป็นบุคคลที่ทางอังกฤษส่งมาเพื่อเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลอังกฤษกับปูยี จอห์นสตัน มีอิทธิพลต่อความคิดหลายๆ อย่างของปูยี นอกจากนั้นเขายังเป็นคนให้ชื่อภาษาอังกฤษ และยังเสนอว่า ปูยี จำเป็นต้องสวมแว่นในปี 1924 เฟิงยู่เสียง ขับราชสำนักแมนจูออกจากวังต้องห้าม ปูยีได้นั่งลีมูซีนไปที่บ้านองค์ชายชุน ผู้เป็นบิดา ในครั้งนั้นคนของ เฟิงยู่เสียน มาเชคแฮนด์กับปูยี และเรียกเขาว่า นายปูยี ซึ่งนั้นเป็นครั้งแรกที่มีคนเรียกเขาเช่นนี้ ปูยี ได้กล่าวถึงความรู้สึกในครั้งนั้นว่าช่วงที่เป็นจักรพรรดิเขาไม่มีอิสรภาพเลยแต่ตอนนี้เขาพบกับอิสรภาพของเขาแล้วชีวิตของปูยีเริ่มได้รับอิสรภาพ เมื่อออกมาจากวังต้องห้าม เขานั่งรถออกจากวังนั้นไม่ผิดกับนกที่ถูกปล่อยออกจากกรง เขาพาตัวเองและครอบครัวไปขอความช่วยเหลือจากสถานทูตญี่ปุ่นและย้ายไปที่ เทียนสิน ที่นั่นเขาได้เปลี่ยนชื่อตัวเองเป็น เฮนรี่ ปูยี ต่อมาปูยีได้ตอบรับคำเชิญจากญี่ปุ่นให้ไปเป็นจักรพรรดิที่แมนจูกัว ซึ่งเป็นจักรพรรดิภายใต้การควบคุมของรัฐบาลญี่ปุ่นและถูกรัสเซียจับกุมในเวลาต่อมาด้านชีวิตสมรสของปูยีนั้นไม่ประสบความสำเร็จอย่างชัดเจน เมื่อภรรยาคนที่สอง จากไปเมื่อครั้งเขาย้ายไปอยู่เทียนสินภรรยาคนแรกก็มีความขัดแย้งกัน และเธอตั้งครรภ์กับคนอื่นเมื่อตอนที่เขาดำรงตำแหน่งจักรพรรดิหุ่นเชิดของแมนจูกัวปี 1950 ปูยี ถูกส่งตัวกลับมาที่จีน ถูกสอบสวนและจำคุกถึง 9 ปีเขาได้รับการปล่อยตัว ในเดือน ธันวาคม ปี1959 และอาศัยอยู่กับครอบครัวของเขาที่บ้านของบิดาในกรุงปักกิ่ง ดูเหมือนว่าเขาจะได้รับอิสระแต่แท้ที่จริงแล้วเขายังมีสภาพเป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลจีน เขาถูกจัดหน้าที่ให้เป็นคนทำสวนของสถาบันพฤกษศาสตร์ เพื่อสร้างภาพให้กับคอมมิวนิสต์ ต่อมาในปี 1962 เขาแต่งงานใหม่กับ หลี่ซู่เสียน นางพยาบาลและสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์วัย 37 ปีในปี 1967 ปูยี เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งที่ไต นั่นอาจจะเป็นการได้รับอิสระอย่างแท้จริงที่เขาต้องการ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น